Treatment of Gestational Diabetes Mellitus
The objective of treatment for a mother who is diagnosed with Gestational Diabetes Mellitus (GDM) is to reduce complications and risk of Intrauterine Fetal Demise. This needs collaborations from several medical fields such as obstetrician, physician as well as the mother herself. And on the birth delivery day, the pediatrician will in involved as well to assist the newborn and prevent or reduce the complications that might occur to the mother and the baby.
A mother who is diagnosed with Gestational Diabetes Mellitus (GDM) during pregnancy, if the glucose level is low, the mother can do self-treatment by controlling diet and the doctor shall make appointments constantly in order to monitor the glucose level to prevent the severe diabetes (Whether the mother is diagnosed with diabetes before or after the pregnancy, the aim of glucose level control is the same which the glucose level needs to be control prior to every meal and it needs to be under 95 mg/dl, the glucose level 1 hour after meal has to be under 140 mg/dl and the glucose level 2 hours after meal has to be under 120 mg/dl[3])
If the symptoms of diabetes become more severe, the doctor will ask the mother to be treated in the hospital in order to get injected with insulin hormone to control the glucose level. The mother is unable to take the medication in pills to treat diabetes as it might be risky to the disability of the fetal (Some pills can be taken for the patient who refuses the injection such as Glibenclamide and Metformin but the outcomes are not as good as insulin[3])
When the doctor can control the glucose level to the normal level, he or she will instruct the mother on how to do a self-treatment when at home. The fetal will also be checked regularly and more frequently than a normal pregnancy in order to prevent any harmful complications that might occur to the mother and the fetal. During the pregnancy, the mother will be advised to follow the following recommendations:
1. Follow doctor’s advice: A pregnant woman must strictly follow the doctor’s advice and recommendations.
2. Control diet in suitable proportion and timely: Dietary control is really important for a patient who is diagnosed with gestational diabetes otherwise the treatment won’t be effective. If the mother fails to control the glucose level, the death risk of the fetal as well as life threatening to the mother will be higher. A woman with normal pregnancy shall eat 3 main meals a day and 2 light meals a day. Most importantly is the amount of daily diet that need to be properly controlled. The mother should reduce the amount of carbohydrate intake and change to brown rice and wheat flour instead; increase the protein intake (low-fat meat) and eat a variety of vegetables (Especially the vegetables that are rich in fiber and vitamins. The root vegetables and grains are high in carbohydrate, protein and provide more energy than the leafy vegetables.) For fruits, it’s better to each fresh fruits than fruit juice (for more fiber). Unsweetened milk and skim milk should be consumed (as it is rich in protein and calcium) and sweets, alcoholic drinks, high sodium and high fat food should be avoided (Use vegetable oil such as rice bran oil, olive oil or sun flower oil for cooking instead.)
3. Regular exercise is recommended: Exercise is vital for a woman diagnosed with gestational diabetic during pregnancy as it can helps reduce the risk of insulin resistance. Therefore, the mother should exercise if there are no limitations such as high blood pressure; the fetal is in high risk of preterm birth or miscarriage. The purpose of exercise is not for losing weight but for maintain the wellness. The recommended exercises are walking or jogging, swimming, dancing or exercise on upper part of the body for 30 minutes a day. However, this depends on the doctor’s recommendation.
4. Always come to the doctor’s appointments: During the pregnancy, the doctor might make appointments more frequently in order to check up the overall health of both the mother and the fetal and monitor the glucose level so the doctor will be able to evaluate and adapt to a proper treatment plan.
5. Treatment with insulin injection only: In some cases, the patient need to be injected with insulin several times a day.
6. In case of abnormalities: In these abnormal cases; the mother becomes fatigue or gains excessively weights; the womb doesn’t increase its size; the fetal doesn’t move or stops moving; symptoms of toxemia of pregnancy occurs or other abnormalities occur (such as Diabetic Retinopathy), the mother must see the doctor immediately.
- Treatment of Gestational Diabetes Mellitus แปลว่า การรักษาเบาหวานขณะตั้งครรภ์
- Gestational Diabetes Mellitus แปลว่า เบาหวานขณะตั้งครรภ์
- A mother who is diagnosed with Gestational Diabetes Mellitus (GDM) during pregnancy, if the glucose level is low แปลว่า คุณแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ถ้า มีระดับน้ำตาลในเลือดน้อย
- Follow doctor’s advice แปลว่า ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
- Some pills can be taken for the patient who refuses the injection such as Glibenclamide and Metformin but the outcomes are not as good as insulin[3] แปลว่า สำหรับยาเบาหวานชนิดกินที่อาจใช้ได้ในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธยาฉีด ได้แก่ ไกลเบนคลาไมด์ (Glibenclamide) และเมทฟอร์มิน (Metformin) แต่ผลการควบคุมเบาหวานมักจะไม่ดีเท่ากับการใช้อินซูลิน[3]
- control the glucose level แปลว่า ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
- Symptoms แปลว่า อาการ
- the fetal is in high risk of preterm birth or miscarriage แปลว่า ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงที่จะคลอดก่อนกำหนดหรือแท้งบุตร
- Diabetic Retinopathy แปลว่า เบาหวานขึ้นตา
- the mother becomes fatigue or gains excessively weights แปลว่า คุณแม่มีอาการอ่อนเพลีย, น้ำหนักตัวขึ้นมากจนเกินไป
- If the symptoms of diabetes become more severe, the doctor will ask the mother to be treated in the hospital in order to get injected with insulin hormone to control the glucose level. แปลว่า แต่ ถ้าคุณแม่เป็นเบาหวานรุนแรงมากขึ้น แพทย์จะให้คุณแม่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้ฮอร์โมนอินซูลินชนิดฉีด เพื่อช่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้เป็นปกติ
- diabetes แปลว่า โรคเบาหวาน
แปลภาษาอังกฤษ เรื่อง Treatment of Gestational Diabetes Mellitus
การรักษาเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ใน การรักษาคุณแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ มีจุดประสงค์เพื่อที่จะลดโรคแทรกซ้อนของคุณแม่และลดอัตราการเสียชีวิตของ ทารกในครรภ์ ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือจากแพทย์หลาย ๆ สาขาร่วมกันระหว่างสูติแพทย์, อายุรแพทย์ (หมอรักษาทางยา), ตัวคุณแม่เอง และในวันคลอดก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากกุมารแพทย์อีก เพื่อมาช่วยเหลือเด็กแรกเกิดและป้องกันหรือลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น กับแม่และลูก
คุณแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ถ้า มีระดับน้ำตาลในเลือดน้อย คุณแม่สามารถรักษาได้เองด้วยการควบคุมดูแลเรื่องอาหารการกิน และแพทย์จะยังคงนัดคุณแม่มาตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดเป็นระยะ ๆ ต่อไปเพื่อป้องกันการเกิดเบาหวานที่รุนแรง (ไม่ว่าจะเป็นเบาหวานก่อนหรือขณะตั้งครรภ์ การควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดจะมีเป้าหมายเหมือนกันคือ ควบคุมน้ำตาลก่อนอาหารทุกมื้อ ให้ได้น้อยกว่า 95 mg/dl, น้ำตาลหลังอาหาร 1 ชั่วโมง ให้ได้น้อยกว่า 140 mg/dl และน้ำตาลหลังอาหาร 2 ชั่วโมง ให้ได้น้อยกว่า 120 mg/dl[3])
แต่ ถ้าคุณแม่เป็นเบาหวานรุนแรงมากขึ้น แพทย์จะให้คุณแม่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้ฮอร์โมนอินซูลินชนิดฉีด เพื่อช่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้เป็นปกติ เนื่องจากคุณแม่ไม่สามารถรับประทานยาเม็ดเพื่อรักษาโรคเบาหวาน เพราะยากินชนิดเม็ดจะทำให้ในครรภ์มีภาวะเสี่ยงต่อความพิการ (สำหรับยาเบาหวานชนิดกินที่อาจใช้ได้ในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธยาฉีด ได้แก่ ไกลเบนคลาไมด์ (Glibenclamide) และเมทฟอร์มิน (Metformin) แต่ผลการควบคุมเบาหวานมักจะไม่ดีเท่ากับการใช้อินซูลิน[3])
เมื่อ แพทย์สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เป็นปกติได้แล้ว แพทย์จะสอนวิธีฉีดยาให้คุณแม่ไว้ดูแลตนเองขณะอยู่ที่บ้าน ส่วนทารกในครรภ์จะได้รับการตรวจสุขภาพเป็นระยะและถี่มากขึ้นกว่าครรภ์ปกติ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับคุณแม่และทารกในครรภ์ ซึ่งในระหว่างการรักษาแพทย์จะแนะนำให้คุณแม่ปฏิบัติตัวดังต่อไปนี้
1. ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ คุณแม่จะต้องเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด
2. ต้องควบคุมอาหารให้ถูกสัดส่วนและถูกเวลา ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากสำหรับผู้ป่วยประเภทนี้ มิฉะนั้นการรักษาจะไม่ได้ผล ถ้าคุณแม่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดีพอ อัตราการเสียชีวิตของลูกก็จะสูงขึ้นและอันตรายที่จะเกิดกับคุณแม่ก็มีมาก ขึ้นด้วยเช่นกัน โดยการรับประทานอาหารสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานก็จะเหมือนกับ อาหารของคุณแม่ตั้งครรภ์ปกติทั่วไปครับ คือ รับประทานอาหาร 3 มื้อ และอาจมีอาหารว่างอีก 2 มื้อ แต่ที่สำคัญก็คือปริมาณของอาหารในแต่ละวันจะต้องควบคุมให้ได้อย่างเหมาะสม โดยการลดอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต (แป้งหรือน้ำตาล) และเปลี่ยนมารับประทานข้าวซ้อมมือหรือขนมปังที่ทำจากแป้งที่ไม่ได้ขัดสี เพิ่มอาหารจำพวกโปรตีน (เนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำ เลือกเป็นเนื้อล้วน ไม่ติดหนัง) และผักให้หลากหลายมากขึ้น (โดยเฉพาะผักจำพวกที่มีใยอาหารและวิตามินมาก ส่วนพวกผักหัวและถั่วต่าง ๆ จะมีสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และพลังงานมากกว่าผักจำพวกใบ) ส่วนผลไม้ให้เลือกรับประทานผลไม้สดแทนน้ำผลไม้ (เพื่อให้ร่างกายได้ใยอาหาร) สำหรับนมนั้นควรรับประทานนมสดชนิดจืดและพร่องมันเนย (เพราะให้โปรตีนสูงและแคลเซียมสูง) และควร หลีกเลี่ยงของหวาน ผลไม้ที่มีรสหวานจัด เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาหารที่มีเกลือสูง และอาหารที่มีไขมันสูง อย่างอาหารทอดหรืออาหารผัดที่ใช้น้ำมันมาก ๆ (ควรหันมาใช้น้ำมันพืชในการประกอบอาหารแทน เช่น น้ำมันรำข้าว น้ำมันมะกอก น้ำมันดอกทานตะวัน)
3. ควรการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพราะการออกกำลังกายมีความสำคัญกับคุณแม่ตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน เพราะจะช่วยลดภาวะดื้อต่อยาอินซูลิน ทำให้ความต้องการยาอินซูลินมีน้อยลง คุณแม่จึงจำเป็นต้องออกกำลังกายทุกรายถ้าไม่มีข้อห้ามต่าง ๆ เช่น เป็นความดันโลหิตสูง ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงที่จะคลอดก่อนกำหนดหรือแท้งบุตร (ชนิดของการออกกำลังกายไม่ควรเป็นไปเพื่อการลดน้ำหนัก ส่วนการออกกำลังกายที่แนะนำ คือ การเดินหรือการวิ่งเหยาะ ๆ, การว่ายน้ำ, เต้นรำ, หรือการออกกำลังกายร่างกายส่วนบน ให้ได้วันละ 30 นาที แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับคำแนะนำของแพทย์ที่ดูแลรักษาด้วยครับ)
4. ต้องมารับการตรวจรักษาอย่างสม่ำเสมอตามที่แพทย์นัด ในระหว่างการฝากครรภ์ แพทย์อาจนัดมาตรวจครรภ์บ่อยกว่าปกติเพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทั้งคุณแม่และ ทารกในครรภ์ รวมทั้งตรวจเลือดเพื่อดูระดับน้ำตาลเพื่อแพทย์จะได้ประเมินและปรับเปลี่ยน การรักษาให้เหมาะสมต่อไป
5. ยาที่ใช้รักษาเบาหวานจะต้องใช้แบบชนิดฉีด ในบางรายจะต้องฉีดวันละหลายครั้ง
6. ในกรณีที่มีความผิดปกติ เช่น คุณแม่มีอาการอ่อนเพลีย, น้ำหนักตัวขึ้นมากจนเกินไป, ท้องไม่โตขึ้น, ลูกดิ้นน้อยลงหรือหยุดดิ้น, มีอาการของครรภ์เป็นพิษ, มีความผิดปกติอื่น ๆ (เช่น เบาหวานขึ้นตา) ให้รีบไปพบแพทย์ก่อนถึงเวลานัดทันที
The objective of treatment for a mother who is diagnosed with Gestational Diabetes Mellitus (GDM) is to reduce complications and risk of Intrauterine Fetal Demise. This needs collaborations from several medical fields such as obstetrician, physician as well as the mother herself. And on the birth delivery day, the pediatrician will in involved as well to assist the newborn and prevent or reduce the complications that might occur to the mother and the baby.
A mother who is diagnosed with Gestational Diabetes Mellitus (GDM) during pregnancy, if the glucose level is low, the mother can do self-treatment by controlling diet and the doctor shall make appointments constantly in order to monitor the glucose level to prevent the severe diabetes (Whether the mother is diagnosed with diabetes before or after the pregnancy, the aim of glucose level control is the same which the glucose level needs to be control prior to every meal and it needs to be under 95 mg/dl, the glucose level 1 hour after meal has to be under 140 mg/dl and the glucose level 2 hours after meal has to be under 120 mg/dl[3])
If the symptoms of diabetes become more severe, the doctor will ask the mother to be treated in the hospital in order to get injected with insulin hormone to control the glucose level. The mother is unable to take the medication in pills to treat diabetes as it might be risky to the disability of the fetal (Some pills can be taken for the patient who refuses the injection such as Glibenclamide and Metformin but the outcomes are not as good as insulin[3])
When the doctor can control the glucose level to the normal level, he or she will instruct the mother on how to do a self-treatment when at home. The fetal will also be checked regularly and more frequently than a normal pregnancy in order to prevent any harmful complications that might occur to the mother and the fetal. During the pregnancy, the mother will be advised to follow the following recommendations:
1. Follow doctor’s advice: A pregnant woman must strictly follow the doctor’s advice and recommendations.
2. Control diet in suitable proportion and timely: Dietary control is really important for a patient who is diagnosed with gestational diabetes otherwise the treatment won’t be effective. If the mother fails to control the glucose level, the death risk of the fetal as well as life threatening to the mother will be higher. A woman with normal pregnancy shall eat 3 main meals a day and 2 light meals a day. Most importantly is the amount of daily diet that need to be properly controlled. The mother should reduce the amount of carbohydrate intake and change to brown rice and wheat flour instead; increase the protein intake (low-fat meat) and eat a variety of vegetables (Especially the vegetables that are rich in fiber and vitamins. The root vegetables and grains are high in carbohydrate, protein and provide more energy than the leafy vegetables.) For fruits, it’s better to each fresh fruits than fruit juice (for more fiber). Unsweetened milk and skim milk should be consumed (as it is rich in protein and calcium) and sweets, alcoholic drinks, high sodium and high fat food should be avoided (Use vegetable oil such as rice bran oil, olive oil or sun flower oil for cooking instead.)
3. Regular exercise is recommended: Exercise is vital for a woman diagnosed with gestational diabetic during pregnancy as it can helps reduce the risk of insulin resistance. Therefore, the mother should exercise if there are no limitations such as high blood pressure; the fetal is in high risk of preterm birth or miscarriage. The purpose of exercise is not for losing weight but for maintain the wellness. The recommended exercises are walking or jogging, swimming, dancing or exercise on upper part of the body for 30 minutes a day. However, this depends on the doctor’s recommendation.
4. Always come to the doctor’s appointments: During the pregnancy, the doctor might make appointments more frequently in order to check up the overall health of both the mother and the fetal and monitor the glucose level so the doctor will be able to evaluate and adapt to a proper treatment plan.
5. Treatment with insulin injection only: In some cases, the patient need to be injected with insulin several times a day.
6. In case of abnormalities: In these abnormal cases; the mother becomes fatigue or gains excessively weights; the womb doesn’t increase its size; the fetal doesn’t move or stops moving; symptoms of toxemia of pregnancy occurs or other abnormalities occur (such as Diabetic Retinopathy), the mother must see the doctor immediately.
คำศัพท์ภาษาอังกฤษ และ ประโยคภาษาอังกฤษ ที่น่าสนใจ
จากบทความภาษาอังกฤษตัวอย่างที่นำมาให้อ่านในวันนี้ เนื้อหาคร่าวๆจะเกี่ยวกับการรักษาโรคเบาหวานที่เกิดกับคุณแม่ในขณะที่ตั้งครรภ์ เพื่อลดอาการของโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น ส่งผลอาจทำให้แม่และเด็กในครรภ์เสียชีวิตได้ โดยวิธีการรักษาก็จะมีวิธีคร่าวๆดังต่อไปนี้ ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์,ควบคุมอาหารให้ถูกสัดส่วนและถูกเวลา,การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ,ไปรับการตรวจรักษาอย่างสม่ำเสมอตามที่แพทย์ได้นัดไว้,การใช้ยาชนิดฉีดเท่านั้น,ในกรณีที่มีความผิดปกติอื่นๆ (ในข้อ 6)
ให้เราลองเปิด Dictionary ในส่วนของคำศัพท์ที่ยากได้ แล้วลองแปลเนื้อเรื่องทั้งหมดให้สละสลวยเป็นภาษาไทยว่าเราสามารถเข้าใจเรื่องราวทั้งหมดได้หรือไม่ และมีคำศัพท์ภาษาอังกฤษ หรือ ประโยคภาษาอังกฤษไหนที่เราแปลไม่ได้บ้าง...ลองด้วยตนเองก่อน แบบไม่เปิดดิคก็ดี ไม่ได้จริงๆ ค่อยเปิด ... โชคดีค่ะ
- Treatment of Gestational Diabetes Mellitus แปลว่า การรักษาเบาหวานขณะตั้งครรภ์
- Gestational Diabetes Mellitus แปลว่า เบาหวานขณะตั้งครรภ์
- A mother who is diagnosed with Gestational Diabetes Mellitus (GDM) during pregnancy, if the glucose level is low แปลว่า คุณแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ถ้า มีระดับน้ำตาลในเลือดน้อย
- Follow doctor’s advice แปลว่า ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
- Some pills can be taken for the patient who refuses the injection such as Glibenclamide and Metformin but the outcomes are not as good as insulin[3] แปลว่า สำหรับยาเบาหวานชนิดกินที่อาจใช้ได้ในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธยาฉีด ได้แก่ ไกลเบนคลาไมด์ (Glibenclamide) และเมทฟอร์มิน (Metformin) แต่ผลการควบคุมเบาหวานมักจะไม่ดีเท่ากับการใช้อินซูลิน[3]
- control the glucose level แปลว่า ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
- Symptoms แปลว่า อาการ
- the fetal is in high risk of preterm birth or miscarriage แปลว่า ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงที่จะคลอดก่อนกำหนดหรือแท้งบุตร
- Diabetic Retinopathy แปลว่า เบาหวานขึ้นตา
- the mother becomes fatigue or gains excessively weights แปลว่า คุณแม่มีอาการอ่อนเพลีย, น้ำหนักตัวขึ้นมากจนเกินไป
- If the symptoms of diabetes become more severe, the doctor will ask the mother to be treated in the hospital in order to get injected with insulin hormone to control the glucose level. แปลว่า แต่ ถ้าคุณแม่เป็นเบาหวานรุนแรงมากขึ้น แพทย์จะให้คุณแม่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้ฮอร์โมนอินซูลินชนิดฉีด เพื่อช่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้เป็นปกติ
- diabetes แปลว่า โรคเบาหวาน
แปลภาษาอังกฤษ เรื่อง Treatment of Gestational Diabetes Mellitus
การรักษาเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ใน การรักษาคุณแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ มีจุดประสงค์เพื่อที่จะลดโรคแทรกซ้อนของคุณแม่และลดอัตราการเสียชีวิตของ ทารกในครรภ์ ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือจากแพทย์หลาย ๆ สาขาร่วมกันระหว่างสูติแพทย์, อายุรแพทย์ (หมอรักษาทางยา), ตัวคุณแม่เอง และในวันคลอดก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากกุมารแพทย์อีก เพื่อมาช่วยเหลือเด็กแรกเกิดและป้องกันหรือลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้น กับแม่และลูก
คุณแม่ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ถ้า มีระดับน้ำตาลในเลือดน้อย คุณแม่สามารถรักษาได้เองด้วยการควบคุมดูแลเรื่องอาหารการกิน และแพทย์จะยังคงนัดคุณแม่มาตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดเป็นระยะ ๆ ต่อไปเพื่อป้องกันการเกิดเบาหวานที่รุนแรง (ไม่ว่าจะเป็นเบาหวานก่อนหรือขณะตั้งครรภ์ การควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดจะมีเป้าหมายเหมือนกันคือ ควบคุมน้ำตาลก่อนอาหารทุกมื้อ ให้ได้น้อยกว่า 95 mg/dl, น้ำตาลหลังอาหาร 1 ชั่วโมง ให้ได้น้อยกว่า 140 mg/dl และน้ำตาลหลังอาหาร 2 ชั่วโมง ให้ได้น้อยกว่า 120 mg/dl[3])
แต่ ถ้าคุณแม่เป็นเบาหวานรุนแรงมากขึ้น แพทย์จะให้คุณแม่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้ฮอร์โมนอินซูลินชนิดฉีด เพื่อช่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้เป็นปกติ เนื่องจากคุณแม่ไม่สามารถรับประทานยาเม็ดเพื่อรักษาโรคเบาหวาน เพราะยากินชนิดเม็ดจะทำให้ในครรภ์มีภาวะเสี่ยงต่อความพิการ (สำหรับยาเบาหวานชนิดกินที่อาจใช้ได้ในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธยาฉีด ได้แก่ ไกลเบนคลาไมด์ (Glibenclamide) และเมทฟอร์มิน (Metformin) แต่ผลการควบคุมเบาหวานมักจะไม่ดีเท่ากับการใช้อินซูลิน[3])
เมื่อ แพทย์สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เป็นปกติได้แล้ว แพทย์จะสอนวิธีฉีดยาให้คุณแม่ไว้ดูแลตนเองขณะอยู่ที่บ้าน ส่วนทารกในครรภ์จะได้รับการตรวจสุขภาพเป็นระยะและถี่มากขึ้นกว่าครรภ์ปกติ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับคุณแม่และทารกในครรภ์ ซึ่งในระหว่างการรักษาแพทย์จะแนะนำให้คุณแม่ปฏิบัติตัวดังต่อไปนี้
1. ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ คุณแม่จะต้องเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด
2. ต้องควบคุมอาหารให้ถูกสัดส่วนและถูกเวลา ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากสำหรับผู้ป่วยประเภทนี้ มิฉะนั้นการรักษาจะไม่ได้ผล ถ้าคุณแม่ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดีพอ อัตราการเสียชีวิตของลูกก็จะสูงขึ้นและอันตรายที่จะเกิดกับคุณแม่ก็มีมาก ขึ้นด้วยเช่นกัน โดยการรับประทานอาหารสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานก็จะเหมือนกับ อาหารของคุณแม่ตั้งครรภ์ปกติทั่วไปครับ คือ รับประทานอาหาร 3 มื้อ และอาจมีอาหารว่างอีก 2 มื้อ แต่ที่สำคัญก็คือปริมาณของอาหารในแต่ละวันจะต้องควบคุมให้ได้อย่างเหมาะสม โดยการลดอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต (แป้งหรือน้ำตาล) และเปลี่ยนมารับประทานข้าวซ้อมมือหรือขนมปังที่ทำจากแป้งที่ไม่ได้ขัดสี เพิ่มอาหารจำพวกโปรตีน (เนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำ เลือกเป็นเนื้อล้วน ไม่ติดหนัง) และผักให้หลากหลายมากขึ้น (โดยเฉพาะผักจำพวกที่มีใยอาหารและวิตามินมาก ส่วนพวกผักหัวและถั่วต่าง ๆ จะมีสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และพลังงานมากกว่าผักจำพวกใบ) ส่วนผลไม้ให้เลือกรับประทานผลไม้สดแทนน้ำผลไม้ (เพื่อให้ร่างกายได้ใยอาหาร) สำหรับนมนั้นควรรับประทานนมสดชนิดจืดและพร่องมันเนย (เพราะให้โปรตีนสูงและแคลเซียมสูง) และควร หลีกเลี่ยงของหวาน ผลไม้ที่มีรสหวานจัด เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาหารที่มีเกลือสูง และอาหารที่มีไขมันสูง อย่างอาหารทอดหรืออาหารผัดที่ใช้น้ำมันมาก ๆ (ควรหันมาใช้น้ำมันพืชในการประกอบอาหารแทน เช่น น้ำมันรำข้าว น้ำมันมะกอก น้ำมันดอกทานตะวัน)
3. ควรการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพราะการออกกำลังกายมีความสำคัญกับคุณแม่ตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน เพราะจะช่วยลดภาวะดื้อต่อยาอินซูลิน ทำให้ความต้องการยาอินซูลินมีน้อยลง คุณแม่จึงจำเป็นต้องออกกำลังกายทุกรายถ้าไม่มีข้อห้ามต่าง ๆ เช่น เป็นความดันโลหิตสูง ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงที่จะคลอดก่อนกำหนดหรือแท้งบุตร (ชนิดของการออกกำลังกายไม่ควรเป็นไปเพื่อการลดน้ำหนัก ส่วนการออกกำลังกายที่แนะนำ คือ การเดินหรือการวิ่งเหยาะ ๆ, การว่ายน้ำ, เต้นรำ, หรือการออกกำลังกายร่างกายส่วนบน ให้ได้วันละ 30 นาที แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับคำแนะนำของแพทย์ที่ดูแลรักษาด้วยครับ)
4. ต้องมารับการตรวจรักษาอย่างสม่ำเสมอตามที่แพทย์นัด ในระหว่างการฝากครรภ์ แพทย์อาจนัดมาตรวจครรภ์บ่อยกว่าปกติเพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทั้งคุณแม่และ ทารกในครรภ์ รวมทั้งตรวจเลือดเพื่อดูระดับน้ำตาลเพื่อแพทย์จะได้ประเมินและปรับเปลี่ยน การรักษาให้เหมาะสมต่อไป
5. ยาที่ใช้รักษาเบาหวานจะต้องใช้แบบชนิดฉีด ในบางรายจะต้องฉีดวันละหลายครั้ง
6. ในกรณีที่มีความผิดปกติ เช่น คุณแม่มีอาการอ่อนเพลีย, น้ำหนักตัวขึ้นมากจนเกินไป, ท้องไม่โตขึ้น, ลูกดิ้นน้อยลงหรือหยุดดิ้น, มีอาการของครรภ์เป็นพิษ, มีความผิดปกติอื่น ๆ (เช่น เบาหวานขึ้นตา) ให้รีบไปพบแพทย์ก่อนถึงเวลานัดทันที